ธุดงควัตรข้อที่ 5 เอกาสนิอังคะ
การสมาทาเอีกาสนิกังคะ หรือการฉันนะอาสนะเดียว
ก็เมื่อภิกษุจะนั่งในโรงฉันอย่านั่งที่พระ
เถระอาจ ถึงกำหนดอาจสนะอันสมควรว่าอาสนะที่จะถึงแก่ตนแล้วจึงนั่ง ท่าการนั่งฉันของเธอค้างอยู่ เมื่ออุปฌาย์มา ลุกขึ้นทำวัตรย่อมควร หรือว่าการรักษามิให้ธุดงค์แตก่ก็ตาม
แต่เพราะภิกษุนี้เป็นผู้ฉันค้างอยู่แล้ว
เพราะเหตุนั้น พึงทำวัตรเถิด แต่อย่าฉันโภชนะเลยดังนี้เป็นวิธีปฏิบัติของเอกาสนิภิกษุนั้นฯ
ว่าโดยประเภท แม้เอกาสนิกภิกษุ ก็มี 3 จำพวก ใน 3 จำพวกนั้น ผู้ถืออย่างอุกฤษฏ์โภชนะจะน้อย
หรือมากก็ตามเถิด เธอย้อนมือลงในโภชนะใด ย่อมไม่ได้เพื่อจะรับโภู้ชนะอีก
จากโภู้ชนะนั้น แม่ถ้าเธอทั้งหลายรู้ว่า พระเถระไม่ได้ฉันอะไรเลย แล้วนำ์มีเนยใสเป็นต้นมาถวาย เนยใสนั้นย่อมควรเพื่อบริโภคเป็นเภสัชเท่านั้น ไม่ควรเพื่อบริโภคเป็นอาหาร ผู้ถืออย่างกลาง ย่อมได้เพื่อจะรับโภูชนะอื่น ตราบเท่าที่ภัตรในบาตรยังไม่หมดไป ด้วยว่าภิกษุนั้นชื่อว่าโภชนปริยันติโก ผู้มีโภชนะเป็นที่สุด ภิกษุผู้ถืออย่างเพลา ย่อมได้เพื่อเธอฉันตราบเท่าที่ยัง
ไม่ลุกจากอาสนะ ด้วยหรือว่าภิกษุนั้นชื่อว่า อุทกะปะริยันติโก ผู้มีน้ำเป็นที่สุด เพราะฉันได้ตราบเท่าที่ยังไม่รับน้ำล้างบาตรบ้าง ชื่อว่าอาสนะปะระยันติโก้
เพราะฉันได้ตลอดเวลาที่ยัง
ไม่ลุกขึ้นบ้าง
ความแตกแห่งเอกาสนิกังคะ ก็ธุดงค์ของอีกาชนิดภิกษุทั้ง 3 พวกนี้
ย้อมแตก ในขณะที่เธอ ฉันโภชนะต่างอาสนะ นี่เป็นความแตกของเอกาสนิกกังคะนี้ หรือฉันอาสนะที่ 2
อานิสงส ์คาถาสรุป
โรคทั้งหลาย มีการกินเป็นปัจจัย ย่อมไม่รบกวนนักพรตผู้ยินดีในการฉัน ณอาสนะเดียว เป็นผู้ไม่ละโมบในรสจึงไม่ทำงานโยคะของตนให้เสื่อมไป เพราะฉันนั้น นักพรตผู้มีใจหมดจด พึ่งปลูกความยินดีในการฉัน ณอาสนะเดียว อันเป็นเหตุแห่งความอยู่สำราญ ซึ่งเป็นกิจวัตรที่ ท่านผู้ยินดี ในสัสเลขะ ที่สะอาดประพฤติกันเถิด นี่เป็นคำพรรณนาการสมาทานวิธีปฏิบัติ ประเภทความแตก และอานิสงส์ในเอกาสนิกังคะณ